คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ???

ดูวิดีโอตอนนี้ คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ???

คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับ คำอธิบายทางการแพทย์???
ชวานโนมา(Schwannoma) คือเนื้องอกของเซลล์เนื้อเยื่อที่ปลอกประสาท โดยเกิดจากเซลล์ที่ชื่อว่า ‘เซลล์ชวาน(Schwann cell)’ เนื้องอกกลุ่มนี้เกือบทั้งหมดเป็นเนื้องอกธรรมดาที่ไม่ใช่มะเร็ง ส่วนน้อยพบเป็นเนื้องอกมะเร็ง(Malignant schwannoma)ที่เกิดตั้งแต่แรก ไม่ใช่จากการกลายพันธ์ของเนื้องอกชวานโนมาชนิดธรรมดา

ชวานโนมาเป็นโรคพบยาก เกิดได้ทุกเพศ และทุกวัย ทั่วไปไม่ทราบสาเหตุเกิด

อนึ่ง เซลล์ชวาน(Schwann cell) คือ เซลล์ที่อยู่รอบนอกของเส้นประสาท มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของเซลล์ประสาท(Neuron)และของใยประสาท (แอกซอน/Axon) ทั้งนี้ ‘เซลล์ชวาน’ได้ชื่อตามชื่อนักสรีรวิทยาชาวเยอรมันที่ค้นพบเซลล์นี้ คือ Theodore Schwann

อาการ:
อาการของชวานโนมา คือ มีก้อนเนื้อไม่เจ็บปวด ขนาดก้อนมีได้ทุกขนาด มีก้อนเดียวหรือหลายก้อนก็ได้ พบได้ทุกเส้นประสาท เช่นที่ ผิวหนัง เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน สมอง ซึ่งถ้าอยู่ที่อวัยวะใกล้ผิวหนัง ก็จะคลำได้เป็นก้อนเนื้อผิดปกติ ที่มีลักษณะแข็ง ไม่เจ็บปวด

นอกจากนั้นจะเป็นอาการจากก้อนเนื้อกดเบียดทับเนื้อเยื่อของอวัยวะที่เกิดโรคซึ่งอาการกลุ่มนี้จะแตกต่างกันเป็นกรณีๆไปขึ้นกับว่าเป็นอวัยวะอะไร เช่น มีเสียงผิดปกติเรื้อรังในหูหรือหูได้ยินลดลง กรณีเกิดโรคที่ประสาทหู เป็นต้น

การวินิจฉัย:
การวินิจฉัย คือ การตัดชิ้นเนื้อจากก้อนเนื้อฯเพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา

การรักษา:
การรักษาหลัก คือการผ่าตัด และ/หรือรังสีรักษาโดยเฉพาะกรณีเป็นเซลล์มะเร็ง ซึ่งโรคนี้ดื้อต่อยาเคมีบำบัด

การพยากรณ์โรค
ชวานโนมา เป็นโรคมีการพยากรณ์โรคที่ดี แพทย์รักษาได้ แต่อาจมีโรคเกิดเป็นซ้ำโดยเฉพาะกรณีผ่าตัดออกได้ไม่หมด และทั่วไปไม่กลายเป็นมะเร็ง
การตรวจแมมโมแกรม จะแปลผลเป็นศัพท์ทางการแพทย์ ที่เรียกว่า BI-RADS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Breast Imaging – Reporting and Data System โดยมีค่าความผิดปกติ แบ่งเป็น BI-RADS 0 – 6 ซึ่งจะบอกว่าเรามีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมมากน้อยเพียงไร พร้อมช่วยแนะแนวทางว่าเราควรได้รับการรักษาต่อไปอย่างไร

BIRADS 1 หมายถึง ตรวจไม่พบความผิดปกติใด ๆ แนะนำให้ตรวจคัดกรองปีะ 1 ครั้ง
BIRADS 2 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่มีได้ตามปกติธรรมชาติในเต้านม เช่น หินปูนธรรมดา ซีสต์หรือถุงน้ำเต้านม ก้อนเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง แนะนำให้ตรวจปีละ 1 ครั้ง
BIRADS 3 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่คาดว่าน่าจะปกติที่พบได้ในเต้านม(probably benign) โอกาสเป็นมะเร็ง 0 – 2% แนะนำตรวจซ้ำทุก ๆ 6 เดือน จนครบ 2 ปี เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีอันตราย
BIRADS 4 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่สงสัยว่าผิดปกติ มีโอกาสเป็นมะเร็ง 2-95% จำเป็นต้องได้ชิ้นเนื้อจากก้อน หรือหินปูนที่ผิดปกตินั้น เพื่อไปตรวจพิสูจน์ว่าเป็นชิ้นเนื้อประเภทอะไร
BIRADS 5 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่สงสัยว่าผิดปกติ มีโอกาสเป็นมะเร็งได้สูงมากกว่า 95% จำเป็นต้องได้ชิ้นเนื้อจากก้อน หรือหินปูนที่ผิดปกตินั้น เพื่อไปตรวจพิสูจน์ว่าเป็นชิ้นเนื้อประเภทอะไร
ที่ศูนย์เต้านม โรงพยาบาลเวชธานี หากพบว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติในเต้านมที่เป็น BI-RADS 4 – 5 สามารถเจาะชิ้นเนื้อเพื่อการวินิจฉัยได้ทันที โดยการฉีดยาชา ไม่ต้องดมยาสลบ มีแผลขนาดเล็กเท่ารูเข็ม เจ็บตัวน้อย ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล และทราบผลชั้นเนื้อภายใน 1 วัน

คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ??? “, นำมาจากแหล่งที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=tYGp3qF8AbY

แท็กของ คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ???: #คนดงกบโรค #นง #ชญญา #Jackpot #เนองอกกานสมอง #และ #เนองอกเตานม #กบคำอธบายทางการแพทย

บทความ คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ??? มีเนื้อหาดังต่อไปนี้: คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับ คำอธิบายทางการแพทย์???
ชวานโนมา(Schwannoma) คือเนื้องอกของเซลล์เนื้อเยื่อที่ปลอกประสาท โดยเกิดจากเซลล์ที่ชื่อว่า ‘เซลล์ชวาน(Schwann cell)’ เนื้องอกกลุ่มนี้เกือบทั้งหมดเป็นเนื้องอกธรรมดาที่ไม่ใช่มะเร็ง ส่วนน้อยพบเป็นเนื้องอกมะเร็ง(Malignant schwannoma)ที่เกิดตั้งแต่แรก ไม่ใช่จากการกลายพันธ์ของเนื้องอกชวานโนมาชนิดธรรมดา

ชวานโนมาเป็นโรคพบยาก เกิดได้ทุกเพศ และทุกวัย ทั่วไปไม่ทราบสาเหตุเกิด

อนึ่ง เซลล์ชวาน(Schwann cell) คือ เซลล์ที่อยู่รอบนอกของเส้นประสาท มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของเซลล์ประสาท(Neuron)และของใยประสาท (แอกซอน/Axon) ทั้งนี้ ‘เซลล์ชวาน’ได้ชื่อตามชื่อนักสรีรวิทยาชาวเยอรมันที่ค้นพบเซลล์นี้ คือ Theodore Schwann

อาการ:
อาการของชวานโนมา คือ มีก้อนเนื้อไม่เจ็บปวด ขนาดก้อนมีได้ทุกขนาด มีก้อนเดียวหรือหลายก้อนก็ได้ พบได้ทุกเส้นประสาท เช่นที่ ผิวหนัง เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน สมอง ซึ่งถ้าอยู่ที่อวัยวะใกล้ผิวหนัง ก็จะคลำได้เป็นก้อนเนื้อผิดปกติ ที่มีลักษณะแข็ง ไม่เจ็บปวด

นอกจากนั้นจะเป็นอาการจากก้อนเนื้อกดเบียดทับเนื้อเยื่อของอวัยวะที่เกิดโรคซึ่งอาการกลุ่มนี้จะแตกต่างกันเป็นกรณีๆไปขึ้นกับว่าเป็นอวัยวะอะไร เช่น มีเสียงผิดปกติเรื้อรังในหูหรือหูได้ยินลดลง กรณีเกิดโรคที่ประสาทหู เป็นต้น

การวินิจฉัย:
การวินิจฉัย คือ การตัดชิ้นเนื้อจากก้อนเนื้อฯเพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา

การรักษา:
การรักษาหลัก คือการผ่าตัด และ/หรือรังสีรักษาโดยเฉพาะกรณีเป็นเซลล์มะเร็ง ซึ่งโรคนี้ดื้อต่อยาเคมีบำบัด

การพยากรณ์โรค
ชวานโนมา เป็นโรคมีการพยากรณ์โรคที่ดี แพทย์รักษาได้ แต่อาจมีโรคเกิดเป็นซ้ำโดยเฉพาะกรณีผ่าตัดออกได้ไม่หมด และทั่วไปไม่กลายเป็นมะเร็ง
การตรวจแมมโมแกรม จะแปลผลเป็นศัพท์ทางการแพทย์ ที่เรียกว่า BI-RADS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Breast Imaging – Reporting and Data System โดยมีค่าความผิดปกติ แบ่งเป็น BI-RADS 0 – 6 ซึ่งจะบอกว่าเรามีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมมากน้อยเพียงไร พร้อมช่วยแนะแนวทางว่าเราควรได้รับการรักษาต่อไปอย่างไร

BIRADS 1 หมายถึง ตรวจไม่พบความผิดปกติใด ๆ แนะนำให้ตรวจคัดกรองปีะ 1 ครั้ง
BIRADS 2 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่มีได้ตามปกติธรรมชาติในเต้านม เช่น หินปูนธรรมดา ซีสต์หรือถุงน้ำเต้านม ก้อนเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง แนะนำให้ตรวจปีละ 1 ครั้ง
BIRADS 3 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่คาดว่าน่าจะปกติที่พบได้ในเต้านม(probably benign) โอกาสเป็นมะเร็ง 0 – 2% แนะนำตรวจซ้ำทุก ๆ 6 เดือน จนครบ 2 ปี เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีอันตราย
BIRADS 4 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่สงสัยว่าผิดปกติ มีโอกาสเป็นมะเร็ง 2-95% จำเป็นต้องได้ชิ้นเนื้อจากก้อน หรือหินปูนที่ผิดปกตินั้น เพื่อไปตรวจพิสูจน์ว่าเป็นชิ้นเนื้อประเภทอะไร
BIRADS 5 หมายถึง ตรวจพบสิ่งที่สงสัยว่าผิดปกติ มีโอกาสเป็นมะเร็งได้สูงมากกว่า 95% จำเป็นต้องได้ชิ้นเนื้อจากก้อน หรือหินปูนที่ผิดปกตินั้น เพื่อไปตรวจพิสูจน์ว่าเป็นชิ้นเนื้อประเภทอะไร
ที่ศูนย์เต้านม โรงพยาบาลเวชธานี หากพบว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติในเต้านมที่เป็น BI-RADS 4 – 5 สามารถเจาะชิ้นเนื้อเพื่อการวินิจฉัยได้ทันที โดยการฉีดยาชา ไม่ต้องดมยาสลบ มีแผลขนาดเล็กเท่ารูเข็ม เจ็บตัวน้อย ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล และทราบผลชั้นเนื้อภายใน 1 วัน

คำหลักของ คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ???: [คำหลัก]

ข้อมูลเพิ่มเติมของ คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ???:
ขณะนี้วิดีโอนี้มีจำนวนการดู 23671 วันที่สร้างวิดีโอคือ 2023-02-21 10:30:13 คุณสามารถดาวน์โหลดวิดีโอนี้ได้โดยไปที่ลิงก์นี้: https://www.youtubepp.com/watch?v=tYGp3qF8AbY , tag: #คนดงกบโรค #นง #ชญญา #Jackpot #เนองอกกานสมอง #และ #เนองอกเตานม #กบคำอธบายทางการแพทย

ขอบคุณที่รับชมวิดีโอ: คนดังกับโรค : นิ้ง ชัญญา Jackpot เนื้องอกก้านสมอง และ เนื้องอกเต้านม กับคำอธิบายทางการแพทย์ ???

Để lại một bình luận

Email của bạn sẽ không được hiển thị công khai. Các trường bắt buộc được đánh dấu *