"รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566

ดูวิดีโอตอนนี้ "รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566

“รุ่งแน่” ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566

การย้ายเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงาน และโรงกลั่นน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย
ในไทยและอาเซียน มีนัยสำคัญ เพราะจะทำให้เกิดแรงขับเคลื่อนใน 2 ปัจจัยคือ
1) เกิดการแข่งขันในตลาดน้ำมันสำเร็จรูปและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลี่ยม ในอาเซียน
ทั้งสิงคโปร์ มาเลเซียและไทย และตลาดจะมีขนาดใหญ่ขึ้น
2) ขับเคลื่อนการพัฒนาพลังงานทางเลือก พลังงานแห่งอนาคตในอาเซียน

บริษัทอารามโค Aramco ของซาอุดิอาระเบีย เป็นบริษัทผู้ผลิตน้ำมันดิบและก๊าซธรรมขาติที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในปี 2565 มีรายได้สุทธิ 161,100 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (5.5 ล้านล้านบาท)

กลางปี 2565 ซาอุดีอาระเบีย เข้ามาร่วมลงทุนกับไทยเป็นมูลค่าสูงถึง 300,000 ล้านบาท โดยจะเข้ามาลงทุนในธุรกิจปลายน้ำ หรือ downstream ในอุตสาหกรรมน้ำมัน กับประเทศไทยมากขึ้น โดยร่วมลงทุนกับบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธุรกิจที่ร่วมลงทุนกันได้แก่
– ธุรกิจจัดหาน้ำมันดิบ
– ธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันและ ก๊าซ LNG และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
– ธุรกิจสำรวจพลังงานไฮโดรเจนสีเขียวและสีฟ้า
ในส่วนของพลังงานไฮโดรเจน ใช้เงินลงทุน 7,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (238,000 ล้านบาท)

สำหรับธุรกิจพลังงานที่ซาอุดีอาระเบียเข้ามาลงทุนนี้
ในฐานะเป็นประเทศส่งออกน้ำมันดิบรายใหญ่สุดของโลก
และการเปลี่ยนทิศทางการลงทุนมาเอเชีย ทั้งในจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
โดยมีไทยรวมอยู่ในอุตสาหกรรมนี้ด้วย
“ทำให้ไทยเข้าไปอยู่ในห่วงโซ่อุตสาหกรรมพลังงานของเอเชีย”
การเข้ามาทำธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันในไทย ช่วยกระตุ้นการนำเข้าน้ำมันดิบ
จากซาอุดีของไทยมากขึ้นด้วย
ไทยซื้อน้ำมันดิบจากซาอุดิอาระเบียมากเป็นอันดับ 2 ที่ร้อยละ 18
รองจากสหรัฐฯอาหรับเอมิเรตส์ อันดับหนึ่งที่ ร้อยละ 27

ความสำคัญของ การลงทุนในไทยครั้งนี้ หัวใจสำคัญอยู่ที่
การเข้ามาช่วยทำการตลาดในธุรกิจโรงกลั่น
โดยนาย Ibrahim Al-Buainain รองประธานฝ่ายขายของอารามโค เผยว่า
การร่วมทุนกับไทย จะเข้ามาดู ด้านการตลาดในธุรกิจโรงกลั่น
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และก๊าซธรรมชาติ LNG
ซึ่งซาอุดิอาระเบียมีความแข็งแกร่งในอุตสาหกรรมนี้
และยังทำให้ไทยมีความมั่นคงในการจัดหาน้ำมันดิบ

ทุนซาอุดิอาระเบียทำให้ธุรกิจโรงกลั่นอาเซียนคึกคัก
สิงคโปร์เป็นเจ้าตลาดในธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันในเอเชีย
ปี 2564 เว็บไซต์ oec.world รายงานว่า มูลค่าการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป
ของอาเซียน เป็นตลาดขนาดใหญ่ และมีอนาคต
สิงคโปร์ส่งออก 40,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(1.4 ล้านล้านบาท) อันดับ5 ของโลก
มาเลเซียส่งออก 29,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(1 ล้านล้านบาท) อันดับ10 ของโลก
ไทยส่งออก 7,320 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ( 250,000 ล้านบาท) อันดับ 22 ของโลก

สิงคโปร์ทำได้ดีมากในอาเซียน เพราะมีขีดความสามารถในการกลั่นน้ำมัน
มากถึงวันละ 1.5 ล้านบาร์เรล แบ่งเป็น
– บริษัท Exxon 605,000 บาร์เรล
– บริษัท Royal Dutch Shell 500,000 บาร์เรล
– บริษัท Singapore Refinery 290,000 บาร์เรล

หากซาอุดิอาระเบียเข้ามาเป็นทุนใหญ่ ในธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันในไทย
ย่อมมีโอกาสสูงที่ไทยจะส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปได้มากกว่านี้
และอาจขยับอันดับ ในฐานะผู้ส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป ได้ใกล้เคียงมาเลเซีย หรือแม้แต่สิงคโปร์

ความร่วมมือกับซาอุดีอาระเบีย นอกจากจะได้เงินทุนแล้ว
ยังได้เครือข่ายธุรกิจน้ำมัน ที่ซาอุดีอาระเบียมีความกว้างขวาง
ในฐานะผู้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ของโลก ที่เห็นชัดเจนเช่น
การลงทุนร่วมกับ มาเลเซียเมื่อ 5 ปีก่อน
ทำให้กิจการของ Petronas เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง

มาเลเซีย
อารามโค เข้าไปลงทุนในมาเซียเมื่อปี 2560 สมัยนายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัค
ทุ่มเงินลงทุนสูงถึง 7,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (238,000ล้านบาท)
เพื่อตั้งโรงกลั่นน้ำมัน โดยผู้ที่เข้ามาดูแลจัดตั้งโรงกลั่นแห่งนี้คือบริษัท Petronas

ในเวลานั้น ซาอุดีอาระเบีย ให้คำมั่นว่า กิจการโรงกลั่นน้ำมัน
จะสร้างกำไรมหาศาลให้กับบริษัทด้านพลังงาน Petronas แน่นอน
ซึ่งในช่วงเวลานั้นราคาน้ำมันโลกตกต่ำและปั่นป่วน

เว็บไซต์ Prtronas รายงานรายได้ของกิจการ ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา
เติบโตต่อเนื่องยกเว้นปี 2563 ซึ่งทั่วโลกปิดประเทศในวิกฤติโควิด
ปี 2562 รายได้รวม 240,263 ล้านริงกิต (1.92 ล้านล้านบาท)
ปี 2563 178,741 ล้านริงกิต (1.43 ล้านล้านบาท)
ปี 2564 248,000 ล้านริงกิต (1.98 ล้านล้านบาท)
ปี 2565 375,300 ล้านริงกิต (3 ล้านล้านบาท)

# ธุรกิจน้ำมันไทย #ซาอุดีอารามโค #อารามโค #ซาอุดิอาระเบีย #ซาอุดีอาระเบีย #มาเลเซีย #สิงคโปร์ #โรงกลั่นน้ำมัน #ก๊าซ LNG #ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
#พลังงานไฮโดรเจนสีเขียวและสีฟ้า #เปโตรนาส #Petronas #ปตท. #ไทย
——————————————

#TNN #อาเซียน4.0 #อาเซียน4.0ออนไลน์ #อาเซียนพลัส #อาเซียน #ASEANplus

ติดตามทุกความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจอาเซียนได้ใน

รายการ อาเซียน Plus
ทุกวันอาทิตย์
เวลา 09.30-10.00น.
ทาง TNNช่อง16

และ รายการ อาเซียน 4.0 ONLINE
ทุกวันอาทิตย์
เวลา 17.00-17.30น.
รับชมสด ได้ทาง Youtube: TNN Online
และ FACEBOOK LIVE PAGE : TNN LIVE

——————————————

ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16

Line @TNNONLINE หรือคลิก

ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

"รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566 “, นำมาจากแหล่งที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=QQ_fY_2urR0

แท็กของ "รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566: #quotรงแนquot #ธรกจนำมนไทยหลงจบมอซาอดอารามโค #อาเซยนพลส #TNN #อาทตยท #เมย

บทความ "รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566 มีเนื้อหาดังต่อไปนี้: “รุ่งแน่” ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566

การย้ายเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงาน และโรงกลั่นน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย
ในไทยและอาเซียน มีนัยสำคัญ เพราะจะทำให้เกิดแรงขับเคลื่อนใน 2 ปัจจัยคือ
1) เกิดการแข่งขันในตลาดน้ำมันสำเร็จรูปและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลี่ยม ในอาเซียน
ทั้งสิงคโปร์ มาเลเซียและไทย และตลาดจะมีขนาดใหญ่ขึ้น
2) ขับเคลื่อนการพัฒนาพลังงานทางเลือก พลังงานแห่งอนาคตในอาเซียน

บริษัทอารามโค Aramco ของซาอุดิอาระเบีย เป็นบริษัทผู้ผลิตน้ำมันดิบและก๊าซธรรมขาติที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในปี 2565 มีรายได้สุทธิ 161,100 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (5.5 ล้านล้านบาท)

กลางปี 2565 ซาอุดีอาระเบีย เข้ามาร่วมลงทุนกับไทยเป็นมูลค่าสูงถึง 300,000 ล้านบาท โดยจะเข้ามาลงทุนในธุรกิจปลายน้ำ หรือ downstream ในอุตสาหกรรมน้ำมัน กับประเทศไทยมากขึ้น โดยร่วมลงทุนกับบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธุรกิจที่ร่วมลงทุนกันได้แก่
– ธุรกิจจัดหาน้ำมันดิบ
– ธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันและ ก๊าซ LNG และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
– ธุรกิจสำรวจพลังงานไฮโดรเจนสีเขียวและสีฟ้า
ในส่วนของพลังงานไฮโดรเจน ใช้เงินลงทุน 7,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (238,000 ล้านบาท)

สำหรับธุรกิจพลังงานที่ซาอุดีอาระเบียเข้ามาลงทุนนี้
ในฐานะเป็นประเทศส่งออกน้ำมันดิบรายใหญ่สุดของโลก
และการเปลี่ยนทิศทางการลงทุนมาเอเชีย ทั้งในจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
โดยมีไทยรวมอยู่ในอุตสาหกรรมนี้ด้วย
“ทำให้ไทยเข้าไปอยู่ในห่วงโซ่อุตสาหกรรมพลังงานของเอเชีย”
การเข้ามาทำธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันในไทย ช่วยกระตุ้นการนำเข้าน้ำมันดิบ
จากซาอุดีของไทยมากขึ้นด้วย
ไทยซื้อน้ำมันดิบจากซาอุดิอาระเบียมากเป็นอันดับ 2 ที่ร้อยละ 18
รองจากสหรัฐฯอาหรับเอมิเรตส์ อันดับหนึ่งที่ ร้อยละ 27

ความสำคัญของ การลงทุนในไทยครั้งนี้ หัวใจสำคัญอยู่ที่
การเข้ามาช่วยทำการตลาดในธุรกิจโรงกลั่น
โดยนาย Ibrahim Al-Buainain รองประธานฝ่ายขายของอารามโค เผยว่า
การร่วมทุนกับไทย จะเข้ามาดู ด้านการตลาดในธุรกิจโรงกลั่น
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และก๊าซธรรมชาติ LNG
ซึ่งซาอุดิอาระเบียมีความแข็งแกร่งในอุตสาหกรรมนี้
และยังทำให้ไทยมีความมั่นคงในการจัดหาน้ำมันดิบ

ทุนซาอุดิอาระเบียทำให้ธุรกิจโรงกลั่นอาเซียนคึกคัก
สิงคโปร์เป็นเจ้าตลาดในธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันในเอเชีย
ปี 2564 เว็บไซต์ oec.world รายงานว่า มูลค่าการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป
ของอาเซียน เป็นตลาดขนาดใหญ่ และมีอนาคต
สิงคโปร์ส่งออก 40,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(1.4 ล้านล้านบาท) อันดับ5 ของโลก
มาเลเซียส่งออก 29,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(1 ล้านล้านบาท) อันดับ10 ของโลก
ไทยส่งออก 7,320 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ( 250,000 ล้านบาท) อันดับ 22 ของโลก

สิงคโปร์ทำได้ดีมากในอาเซียน เพราะมีขีดความสามารถในการกลั่นน้ำมัน
มากถึงวันละ 1.5 ล้านบาร์เรล แบ่งเป็น
– บริษัท Exxon 605,000 บาร์เรล
– บริษัท Royal Dutch Shell 500,000 บาร์เรล
– บริษัท Singapore Refinery 290,000 บาร์เรล

หากซาอุดิอาระเบียเข้ามาเป็นทุนใหญ่ ในธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันในไทย
ย่อมมีโอกาสสูงที่ไทยจะส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปได้มากกว่านี้
และอาจขยับอันดับ ในฐานะผู้ส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป ได้ใกล้เคียงมาเลเซีย หรือแม้แต่สิงคโปร์

ความร่วมมือกับซาอุดีอาระเบีย นอกจากจะได้เงินทุนแล้ว
ยังได้เครือข่ายธุรกิจน้ำมัน ที่ซาอุดีอาระเบียมีความกว้างขวาง
ในฐานะผู้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ของโลก ที่เห็นชัดเจนเช่น
การลงทุนร่วมกับ มาเลเซียเมื่อ 5 ปีก่อน
ทำให้กิจการของ Petronas เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง

มาเลเซีย
อารามโค เข้าไปลงทุนในมาเซียเมื่อปี 2560 สมัยนายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัค
ทุ่มเงินลงทุนสูงถึง 7,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (238,000ล้านบาท)
เพื่อตั้งโรงกลั่นน้ำมัน โดยผู้ที่เข้ามาดูแลจัดตั้งโรงกลั่นแห่งนี้คือบริษัท Petronas

ในเวลานั้น ซาอุดีอาระเบีย ให้คำมั่นว่า กิจการโรงกลั่นน้ำมัน
จะสร้างกำไรมหาศาลให้กับบริษัทด้านพลังงาน Petronas แน่นอน
ซึ่งในช่วงเวลานั้นราคาน้ำมันโลกตกต่ำและปั่นป่วน

เว็บไซต์ Prtronas รายงานรายได้ของกิจการ ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา
เติบโตต่อเนื่องยกเว้นปี 2563 ซึ่งทั่วโลกปิดประเทศในวิกฤติโควิด
ปี 2562 รายได้รวม 240,263 ล้านริงกิต (1.92 ล้านล้านบาท)
ปี 2563 178,741 ล้านริงกิต (1.43 ล้านล้านบาท)
ปี 2564 248,000 ล้านริงกิต (1.98 ล้านล้านบาท)
ปี 2565 375,300 ล้านริงกิต (3 ล้านล้านบาท)

# ธุรกิจน้ำมันไทย #ซาอุดีอารามโค #อารามโค #ซาอุดิอาระเบีย #ซาอุดีอาระเบีย #มาเลเซีย #สิงคโปร์ #โรงกลั่นน้ำมัน #ก๊าซ LNG #ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
#พลังงานไฮโดรเจนสีเขียวและสีฟ้า #เปโตรนาส #Petronas #ปตท. #ไทย
——————————————

#TNN #อาเซียน4.0 #อาเซียน4.0ออนไลน์ #อาเซียนพลัส #อาเซียน #ASEANplus

ติดตามทุกความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจอาเซียนได้ใน

รายการ อาเซียน Plus
ทุกวันอาทิตย์
เวลา 09.30-10.00น.
ทาง TNNช่อง16

และ รายการ อาเซียน 4.0 ONLINE
ทุกวันอาทิตย์
เวลา 17.00-17.30น.
รับชมสด ได้ทาง Youtube: TNN Online
และ FACEBOOK LIVE PAGE : TNN LIVE

——————————————

ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16

Line @TNNONLINE หรือคลิก

ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

คำหลักของ "รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566: [คำหลัก]

ข้อมูลเพิ่มเติมของ "รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566:
ขณะนี้วิดีโอนี้มีจำนวนการดู 68364 วันที่สร้างวิดีโอคือ 2023-04-16 03:00:14 คุณสามารถดาวน์โหลดวิดีโอนี้ได้โดยไปที่ลิงก์นี้: https://www.youtubepp.com/watch?v=QQ_fY_2urR0 , tag: #quotรงแนquot #ธรกจนำมนไทยหลงจบมอซาอดอารามโค #อาเซยนพลส #TNN #อาทตยท #เมย

ขอบคุณที่รับชมวิดีโอ: "รุ่งแน่" ธุรกิจน้ำมันไทยหลังจับมือซาอุดีอารามโค | อาเซียนพลัส |TNN| อาทิตย์ที่ 16 เม.ย. 2566

Để lại một bình luận

Email của bạn sẽ không được hiển thị công khai. Các trường bắt buộc được đánh dấu *