ดูวิดีโอตอนนี้ ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!!
ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!!
โดย ปรมาจารย์ และพ่อมดแห่งวงการปลาญี่ปุ่น นบโอกิ มาเอดะ
เค้ามาสอนเทคนิคการทำปลาให้ได้คุณภาพสูงแบบญี่ปุ่น เพื่อยกระดับปลาในบ้านเราภายใต้การนำของ Kouen Group ครับ
ทำไมเราจึงไม่ค่อยเห็นซาซิมิปลาไทย??? (บทความนี้ยาวมากๆนะครับ เตือนไว้ก่อน)
วันนี้กันย์ได้มีโอกาสเห็นฝีมือของ “พ่อมดแห่งวงการปลาญี่ปุ่น” เป็นชายร่างใหญ่ที่เกิด และโต และใช้ชีวิตกับปลา ชายผู้นั้นคือ “นาโอกิ มาเอดะ” ปรมาจารย์ด้านปลาครับ
ปกติร้านอาหาร เชฟมักจะเป็นคนเลือกปลา แต่สำหรับนาโอกิ มาเอดะแล้ว เค้าจะเป็นคนเลือกปลาให้ร้าน โดยจะดูลักษณะของร้าน ก่อนที่จะส่งปลาที่เค้าจัดการไปให้ และเค้าก็เป็นผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของร้านอาหารมิชลินหลายๆร้านด้วยครับ
สิ่งที่ทำให้ปลาไทย และปลาญี่ปุ่น Value ต่างกัน หาใช่เรื่องของคุณภาพสายพันธุ์ปลาอย่างเดียวครับ หากแต่เป็นเรื่องของการจัดการกับปลา ประเทศเรามีทรัพยากรทางน้ำที่ดี และปลาที่คุณภาพสูง แต่เทคนิคการจัดการปลายังด้อยนัก
ส่วนใหญ่เวลาเราเห็นคนจัดการปลาตามร้านอาหาร ก็จะจัดการ 2-3 วิธี ถ้าไม่ทุบหัว ก็น็อคน้ำแข็ง แล้วสับไปที่คอ แต่นาโอกิ มาเอดะ ใช้เทคนิคในการจัดการปลาถึง 3 ขั้นตอนด้วยกัน
“อิเคะจิเมะ” การจัดการกับปลาให้จากไปอย่างสงบ ด้วยการจัดการสมองทันที เพื่อลดการเกร็งตัวของเนื้อปลาที่จะเกิดขึ้น
หลังจากนั้นมาเอดะซังก็จัดการรีดเลือดปลา แล้วเข้าสู่เทคนิคที่ 2 “ชินเคจิเมะ” การสอดลวดผ่านแนวกระดูกสันหลังจากหางถึงคอ เพื่อจัดการเส้นประสาทสั่งการทั้งหมด เป็นการลดการเกิดกรดแลคติกในเนื้อปลา ทำให้เนื้อปลาหวานอย่างที่ควรจะเป็น และยืดอายุในการจัดเก็บเนื้อปลา
“ดัสซุยจิเมะ” กระบวนการสุดท้าย ที่ได้มาซึ่งฉายา “Master แห่งวงการปลา” การขจัดน้ำส่วนเกิน ด้วยการโรยเกลือบนเนื้อปลาอย่างเหมาะสม ขั้นตอนนี้ เมื่อทำแล้วจะเกิดปรากฏการณ์ “ดิ้น” ของเนื้อปลาที่แล่แล้ว ประหนึ่งโดยชุบชีวิตขึ้นมาใหม่ เนื้อปลาจะถูกดึงน้ำส่วนเกินออกมา และเนื้อปลาด้านในจะถูกบ่มด้วยเอนไซม์ตามธรรมชาติ โดยมีเกลือเป็นตัวควบคุมแบคทีเรีย
จากนั้น เชฟก็ทำการซับน้ำ ซับเกลือส่วนเกิน และจัดห่ออย่างดี เพื่อทำการบ่มต่อ เพื่อให้เนื้อปลามีรสหวานอร่อย และอุดมด้วยความอูมามิอย่างเต็มที่
จะเห็นได้ว่า ทั้งหมดนี้ คือเรื่องของการ “จัดการปลา” ซึ่งเป็นสิ่งที่คนไทยยังขาดวิชาความรู้อยู่มาก มีเพียงไม่กี่ร้านอาหารในไทย ที่จัดการปลาแบบนี้ ซึ่งปลาที่เชฟจัดการวันนี้ก็คือ “ปลาไทย” นั่นแหล่ะครับ ศักยภาพของปลาไทยไม่แพ้ปลาใดใดในโลก แต่ปัญหาคือ เราขาดวิชาความรู้ในการจัดการปลาอย่างเหมาะสม สำหรับผม วันนี้จึงนับเป็นบุญตามากครับที่ได้เห็น
เป็นที่น่าสนใจว่า ในอนาคต เนื้อปลาที่มาจากไทย จะถูกยกระดับไปได้ไกลขนาดไหน คงต้องรอติดตามกันต่อไป
#พรุ่งนี้ค่อยลด
“ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!! “, นำมาจากแหล่งที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=jfXkIXZTWxU
แท็กของ ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!!: #ศาสตรแหงการทำปลาขนสงสด #ทกำลงจะมในประเทศไทย
บทความ ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!! มีเนื้อหาดังต่อไปนี้: ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!!
โดย ปรมาจารย์ และพ่อมดแห่งวงการปลาญี่ปุ่น นบโอกิ มาเอดะ
เค้ามาสอนเทคนิคการทำปลาให้ได้คุณภาพสูงแบบญี่ปุ่น เพื่อยกระดับปลาในบ้านเราภายใต้การนำของ Kouen Group ครับ
ทำไมเราจึงไม่ค่อยเห็นซาซิมิปลาไทย??? (บทความนี้ยาวมากๆนะครับ เตือนไว้ก่อน)
วันนี้กันย์ได้มีโอกาสเห็นฝีมือของ “พ่อมดแห่งวงการปลาญี่ปุ่น” เป็นชายร่างใหญ่ที่เกิด และโต และใช้ชีวิตกับปลา ชายผู้นั้นคือ “นาโอกิ มาเอดะ” ปรมาจารย์ด้านปลาครับ
ปกติร้านอาหาร เชฟมักจะเป็นคนเลือกปลา แต่สำหรับนาโอกิ มาเอดะแล้ว เค้าจะเป็นคนเลือกปลาให้ร้าน โดยจะดูลักษณะของร้าน ก่อนที่จะส่งปลาที่เค้าจัดการไปให้ และเค้าก็เป็นผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของร้านอาหารมิชลินหลายๆร้านด้วยครับ
สิ่งที่ทำให้ปลาไทย และปลาญี่ปุ่น Value ต่างกัน หาใช่เรื่องของคุณภาพสายพันธุ์ปลาอย่างเดียวครับ หากแต่เป็นเรื่องของการจัดการกับปลา ประเทศเรามีทรัพยากรทางน้ำที่ดี และปลาที่คุณภาพสูง แต่เทคนิคการจัดการปลายังด้อยนัก
ส่วนใหญ่เวลาเราเห็นคนจัดการปลาตามร้านอาหาร ก็จะจัดการ 2-3 วิธี ถ้าไม่ทุบหัว ก็น็อคน้ำแข็ง แล้วสับไปที่คอ แต่นาโอกิ มาเอดะ ใช้เทคนิคในการจัดการปลาถึง 3 ขั้นตอนด้วยกัน
“อิเคะจิเมะ” การจัดการกับปลาให้จากไปอย่างสงบ ด้วยการจัดการสมองทันที เพื่อลดการเกร็งตัวของเนื้อปลาที่จะเกิดขึ้น
หลังจากนั้นมาเอดะซังก็จัดการรีดเลือดปลา แล้วเข้าสู่เทคนิคที่ 2 “ชินเคจิเมะ” การสอดลวดผ่านแนวกระดูกสันหลังจากหางถึงคอ เพื่อจัดการเส้นประสาทสั่งการทั้งหมด เป็นการลดการเกิดกรดแลคติกในเนื้อปลา ทำให้เนื้อปลาหวานอย่างที่ควรจะเป็น และยืดอายุในการจัดเก็บเนื้อปลา
“ดัสซุยจิเมะ” กระบวนการสุดท้าย ที่ได้มาซึ่งฉายา “Master แห่งวงการปลา” การขจัดน้ำส่วนเกิน ด้วยการโรยเกลือบนเนื้อปลาอย่างเหมาะสม ขั้นตอนนี้ เมื่อทำแล้วจะเกิดปรากฏการณ์ “ดิ้น” ของเนื้อปลาที่แล่แล้ว ประหนึ่งโดยชุบชีวิตขึ้นมาใหม่ เนื้อปลาจะถูกดึงน้ำส่วนเกินออกมา และเนื้อปลาด้านในจะถูกบ่มด้วยเอนไซม์ตามธรรมชาติ โดยมีเกลือเป็นตัวควบคุมแบคทีเรีย
จากนั้น เชฟก็ทำการซับน้ำ ซับเกลือส่วนเกิน และจัดห่ออย่างดี เพื่อทำการบ่มต่อ เพื่อให้เนื้อปลามีรสหวานอร่อย และอุดมด้วยความอูมามิอย่างเต็มที่
จะเห็นได้ว่า ทั้งหมดนี้ คือเรื่องของการ “จัดการปลา” ซึ่งเป็นสิ่งที่คนไทยยังขาดวิชาความรู้อยู่มาก มีเพียงไม่กี่ร้านอาหารในไทย ที่จัดการปลาแบบนี้ ซึ่งปลาที่เชฟจัดการวันนี้ก็คือ “ปลาไทย” นั่นแหล่ะครับ ศักยภาพของปลาไทยไม่แพ้ปลาใดใดในโลก แต่ปัญหาคือ เราขาดวิชาความรู้ในการจัดการปลาอย่างเหมาะสม สำหรับผม วันนี้จึงนับเป็นบุญตามากครับที่ได้เห็น
เป็นที่น่าสนใจว่า ในอนาคต เนื้อปลาที่มาจากไทย จะถูกยกระดับไปได้ไกลขนาดไหน คงต้องรอติดตามกันต่อไป
#พรุ่งนี้ค่อยลด
คำหลักของ ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!!: [คำหลัก]
ข้อมูลเพิ่มเติมของ ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!!:
ขณะนี้วิดีโอนี้มีจำนวนการดู 9932841 วันที่สร้างวิดีโอคือ 2022-12-05 13:36:12 คุณสามารถดาวน์โหลดวิดีโอนี้ได้โดยไปที่ลิงก์นี้: https://www.youtubepp.com/watch?v=jfXkIXZTWxU , tag: #ศาสตรแหงการทำปลาขนสงสด #ทกำลงจะมในประเทศไทย
ขอบคุณที่รับชมวิดีโอ: ศาสตร์แห่งการทำปลาขั้นสูงสุด ที่กำลังจะมีในประเทศไทย!!!