คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad

ดูวิดีโอตอนนี้ คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad

ระนาดเอก (x วงโยธวาทิต) ในเพลง “คลื่นกระทบฝั่ง” และ “ค้างคาวกินกล้วย” (ชื่อจริง ลิงกับเสือ) โดยเป็นเวอร์ชั่นที่ใช้ในการแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนเอเชีย 2023 AFC U-17 Asian Cup วันที่ 15 มิถุนายน 2566 ณ สนามสนามบีจีสเตเดี้ยม (BG Stadium) จ.ปทุมธานี โดยวงโยธวาทิตมาจากวง Brass Band ของโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี และเสียงวงโยธวาทิตในคลิปนี้มาจากการบันทึกเพื่อใช้ในการซ้อมในพิธีเปิด และได้เรียบเรียงระนาดเอกขึ้นใหม่โดยใส่เทคนิคเพิ่มเติมจากที่บรรเลงไว้ในพิธีเปิด และได้ใช้เป็นไม้แข็งทั้งสองเพลง (ในพิธีเปิด เพลงคลื่นกระทบฝั่งใช้ไม้นวม และเพลงค้างคาวกินกล้วยใช้ไม้แข็ง) ขอให้ทุกท่านเพลิดเพลินในการ cover ตัวเองของโน่ในครับนี้ครับ

อย่าลืมคอมเมนต์ ไลก์ แชร์ กดติดตาม และกดแจ้งเตือน เป็นกำลังใจให้ Fino the Ranad ด้วยนะครับ

– ภาพการแสดงจาก AFC Asian Cup
– วงโยธวาทิตโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
– การแสดงธงโดย Bangkok Color Guard Team
___
เปิดแล้ว! โรงเรียนระนาดเอกแนวใหม่ The Ranad Studio สอนโดย Fino the Ranad
– สัมผัสโปรดัคชั่นจัดเต็มและมีคลิประดับมืออาชีพเป็นของตัวเองเมื่อจบคอร์ส
– รูปแบบการเรียนระนาดแนวใหม่ ปรับพื้นฐาน ปรุงสไตล์การเล่น ปลุกความคิดสร้างสรรค์ ปัง! ทุกรูปแบบการแสดง
– สมัครเรียนหรือข้อมูลเพิ่มเติม คลิก:

สมัครสมาชิกช่อง Fino the Ranad (โน้ตและ backing track เพลงนี้) คลิก:

ติดต่องาน CONTACT:
📱 LINE ID → @finotheranad (LINE Official ผู้จัดการ)
📱
📧 Email → patanasiri.fp@gmail.com

📘 กลุ่มเฟซบุ๊กคนระนาดเอก →
📱 INSTAGRAM → (Finomenonn)
⏰ TIKTOK → (@Finotheranad)
📘 FACEBOOK → (Fino the Ranad)
___
เพลงคลื่นกระทบฝั่ง
เป็นเพลงทำนองเก่ารวมอยู่ในเนื้อเพลงฉิ่งโบราณ มีเพลงฟองน้ำ เพลงฝั่งน้ำ และเพลงคลื่นกระทบฝั่ง บรรเลงติดต่อกัน สำหรับเพลงคลื่นกระทบฝั่งที่มีทำนองและชื่อที่เรียกกันอยู่ในปัจจุบัน เป็นเพลงที่มีลีลาเดียวกันกับเพลงฝั่งน้ำในเรื่องเพลงฉิ่งโบราณ ครูดนตรีท่านหนึ่ง ได้นำทำนองเพลงฝั่งน้ำมาบรรเลงขับกล่อมครั้งแรกและเรียกชื่อเพลงว่า “คลื่นกระทบฝั่ง” คนทั่วไปจึงเรียกชื่อนี้ตาม จนเกิดความคลาดเคลื่อนจากทำนองเดิมนับแต่นั้นมา เพลงนี้ได้นำมาขับร้องและบรรเลงประกอบการแสดงโขนละครกันอย่างแพร่หลาย ทั้งยังนำมารวมไว้อยู่ในเพลงตับวิวาห์พระสมุทร ซึ่งเป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วย (ข้อมูลจากกรมศิลปากร)

เพลงค้างคาวกินกล้วย
เป็นเพลงไทยเดิมทำนองเก่าสมัยกรุงศรีอยุธยา ใช้ประกอบการแสดงละคร นิยมใช้บรรเลงร้องเล่นประกอบการแสดงละครในฉากที่เป็นป่าเขาลำเนาไพร หรือใช้บรรเลงเพื่อประกอบกิริยาการเดินทางของตัวละครที่เป็นตัวตลก เป็นเพลงที่มีลีลา ทำนอง และอัตราจังหวะกระชั้น รุกเร้า ชวนให้อารมณ์คึกคัก สนุกสนาน หรือให้อารมณ์ตลกขบขัน

เพลงทำนองนี้จริงๆมีชื่อว่าเพลง “ลิงกับเสือ” (โดยที่ทำนองค้างคาวกินกล้วยจริงเป็นอีกทำนอง) ที่มาของเพลงลิงกับเสือมาจากคนแต่งเพลงซึ่งยังไม่ทราบว่าเป็นใคร และแต่งเมื่อใด เมื่อแต่งเสร็จได้ตั้งชื่อเพลงเป็นประโยคว่า “ลิงถ..กกระด..เสือ” มีความหมายว่าลิงกระทำกิริยาอาการบางประการกับอวัยวะเพศของเสือตัวผู้ คนภายหลังคงเห็นว่าออกจะหยาบโลนไปจึงเรียกชื่อใหม่ว่า “ลิงกับเสือ” หรือ “ลิงแหย่เสือ” แต่ไม่ค่อยมีคนรู้จักชื่อนี้กันมากนัก คงรู้จักในชื่อ “ค้างคาวกินกล้วย” กันมากกว่า

#คลื่นกระทบฝั่ง #ค้างคาวกินกล้วย #afcu17

คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad “, นำมาจากแหล่งที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=ICEb27emDa8

แท็กของ คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad: #คลนกระทบฝง #คางคาวกนกลวย #ระนาดเอก #วงโยธวาทต #ไทยเดม #series #Fino #Ranad

บทความ คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad มีเนื้อหาดังต่อไปนี้: ระนาดเอก (x วงโยธวาทิต) ในเพลง “คลื่นกระทบฝั่ง” และ “ค้างคาวกินกล้วย” (ชื่อจริง ลิงกับเสือ) โดยเป็นเวอร์ชั่นที่ใช้ในการแสดงในพิธีเปิดการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนเอเชีย 2023 AFC U-17 Asian Cup วันที่ 15 มิถุนายน 2566 ณ สนามสนามบีจีสเตเดี้ยม (BG Stadium) จ.ปทุมธานี โดยวงโยธวาทิตมาจากวง Brass Band ของโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี และเสียงวงโยธวาทิตในคลิปนี้มาจากการบันทึกเพื่อใช้ในการซ้อมในพิธีเปิด และได้เรียบเรียงระนาดเอกขึ้นใหม่โดยใส่เทคนิคเพิ่มเติมจากที่บรรเลงไว้ในพิธีเปิด และได้ใช้เป็นไม้แข็งทั้งสองเพลง (ในพิธีเปิด เพลงคลื่นกระทบฝั่งใช้ไม้นวม และเพลงค้างคาวกินกล้วยใช้ไม้แข็ง) ขอให้ทุกท่านเพลิดเพลินในการ cover ตัวเองของโน่ในครับนี้ครับ

อย่าลืมคอมเมนต์ ไลก์ แชร์ กดติดตาม และกดแจ้งเตือน เป็นกำลังใจให้ Fino the Ranad ด้วยนะครับ

– ภาพการแสดงจาก AFC Asian Cup
– วงโยธวาทิตโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
– การแสดงธงโดย Bangkok Color Guard Team
___
เปิดแล้ว! โรงเรียนระนาดเอกแนวใหม่ The Ranad Studio สอนโดย Fino the Ranad
– สัมผัสโปรดัคชั่นจัดเต็มและมีคลิประดับมืออาชีพเป็นของตัวเองเมื่อจบคอร์ส
– รูปแบบการเรียนระนาดแนวใหม่ ปรับพื้นฐาน ปรุงสไตล์การเล่น ปลุกความคิดสร้างสรรค์ ปัง! ทุกรูปแบบการแสดง
– สมัครเรียนหรือข้อมูลเพิ่มเติม คลิก:

สมัครสมาชิกช่อง Fino the Ranad (โน้ตและ backing track เพลงนี้) คลิก:

ติดต่องาน CONTACT:
📱 LINE ID → @finotheranad (LINE Official ผู้จัดการ)
📱
📧 Email → patanasiri.fp@gmail.com

📘 กลุ่มเฟซบุ๊กคนระนาดเอก →
📱 INSTAGRAM → (Finomenonn)
⏰ TIKTOK → (@Finotheranad)
📘 FACEBOOK → (Fino the Ranad)
___
เพลงคลื่นกระทบฝั่ง
เป็นเพลงทำนองเก่ารวมอยู่ในเนื้อเพลงฉิ่งโบราณ มีเพลงฟองน้ำ เพลงฝั่งน้ำ และเพลงคลื่นกระทบฝั่ง บรรเลงติดต่อกัน สำหรับเพลงคลื่นกระทบฝั่งที่มีทำนองและชื่อที่เรียกกันอยู่ในปัจจุบัน เป็นเพลงที่มีลีลาเดียวกันกับเพลงฝั่งน้ำในเรื่องเพลงฉิ่งโบราณ ครูดนตรีท่านหนึ่ง ได้นำทำนองเพลงฝั่งน้ำมาบรรเลงขับกล่อมครั้งแรกและเรียกชื่อเพลงว่า “คลื่นกระทบฝั่ง” คนทั่วไปจึงเรียกชื่อนี้ตาม จนเกิดความคลาดเคลื่อนจากทำนองเดิมนับแต่นั้นมา เพลงนี้ได้นำมาขับร้องและบรรเลงประกอบการแสดงโขนละครกันอย่างแพร่หลาย ทั้งยังนำมารวมไว้อยู่ในเพลงตับวิวาห์พระสมุทร ซึ่งเป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วย (ข้อมูลจากกรมศิลปากร)

เพลงค้างคาวกินกล้วย
เป็นเพลงไทยเดิมทำนองเก่าสมัยกรุงศรีอยุธยา ใช้ประกอบการแสดงละคร นิยมใช้บรรเลงร้องเล่นประกอบการแสดงละครในฉากที่เป็นป่าเขาลำเนาไพร หรือใช้บรรเลงเพื่อประกอบกิริยาการเดินทางของตัวละครที่เป็นตัวตลก เป็นเพลงที่มีลีลา ทำนอง และอัตราจังหวะกระชั้น รุกเร้า ชวนให้อารมณ์คึกคัก สนุกสนาน หรือให้อารมณ์ตลกขบขัน

เพลงทำนองนี้จริงๆมีชื่อว่าเพลง “ลิงกับเสือ” (โดยที่ทำนองค้างคาวกินกล้วยจริงเป็นอีกทำนอง) ที่มาของเพลงลิงกับเสือมาจากคนแต่งเพลงซึ่งยังไม่ทราบว่าเป็นใคร และแต่งเมื่อใด เมื่อแต่งเสร็จได้ตั้งชื่อเพลงเป็นประโยคว่า “ลิงถ..กกระด..เสือ” มีความหมายว่าลิงกระทำกิริยาอาการบางประการกับอวัยวะเพศของเสือตัวผู้ คนภายหลังคงเห็นว่าออกจะหยาบโลนไปจึงเรียกชื่อใหม่ว่า “ลิงกับเสือ” หรือ “ลิงแหย่เสือ” แต่ไม่ค่อยมีคนรู้จักชื่อนี้กันมากนัก คงรู้จักในชื่อ “ค้างคาวกินกล้วย” กันมากกว่า

#คลื่นกระทบฝั่ง #ค้างคาวกินกล้วย #afcu17

คำหลักของ คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad: [คำหลัก]

ข้อมูลเพิ่มเติมของ คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad:
ขณะนี้วิดีโอนี้มีจำนวนการดู 8813 วันที่สร้างวิดีโอคือ 2023-06-23 12:00:12 คุณสามารถดาวน์โหลดวิดีโอนี้ได้โดยไปที่ลิงก์นี้: https://www.youtubepp.com/watch?v=ICEb27emDa8 , tag: #คลนกระทบฝง #คางคาวกนกลวย #ระนาดเอก #วงโยธวาทต #ไทยเดม #series #Fino #Ranad

ขอบคุณที่รับชมวิดีโอ: คลื่นกระทบฝั่ง – ค้างคาวกินกล้วย | ระนาดเอก x วงโยธวาทิต | ไทยเดิม series by Fino the Ranad

Để lại một bình luận

Email của bạn sẽ không được hiển thị công khai. Các trường bắt buộc được đánh dấu *